Thu, 23 Jun 2022 18:14:04 +0000

11 IEEE 802. 11 ถือเป็นมาตรฐานเครือข่ายไวเลสแลน โดยมีการกำหนดอักษรย่อของมาตรฐานต่างๆ แบ่งออกเป็น a, b, g และ n โดยแต่ละมาตรฐานมีความเร็วและใช้คลื่นความถี่ที่แตกต่างกันออกไปดังต่อไปนี้ IEEE 802. 11a คลื่นความถี่ 5 GHz ความเร็วในการรับส่งข้อมูล 54 Mbps ในประเทศไทยไม่อนุญาติให้ใช้คลื่นความถี่นี้ IEEE 802. 11b คลื่นความถี่ 2. 4 GHz ความเร็วในการรับส่งข้อมูล 11 Mbps IEEE 802. 11g คลื่นความถี่ 2. 4 GHz ความเร็วในการรับส่งข้อมูล 54 Mbps IEEE 802. 11n คลื่นความถี่ 2. 4 ความเร็วในการรับส่งข้อมูล 300 Mbps IEEE 802. 11ac คลื่นความถี่ 5. 1 GHz มาตรฐานใหม่ล่าสุด ความเร็วในการรับส่งข้อมูล 6, 930 Mbps หรือประมาณ 6. 93 Gbps ประวัติมาตรฐาน IEEE 802. 11a – เสร็จสมบูรณ์เมื่อปี ค. 1999 โดยออกเผยแพร่ช้ากว่าของมาตรฐาน IEEE 802. 11b ใช้เทคโนโลยีที่เรียกว่า OFDM (Orthogonal Frequency Division Multiplexing) เพื่อปรับปรุงความเร็วในการส่งข้อมูลให้วิ่งได้สูงถึง 54 Mbps บนความถี่ 5Ghz ซึ่งจะมีคลื่นรบกวนน้อยกว่าความถี่ 2.

Graphics

11ax ที่กำลังจะเป็นมาตรฐานหลักในปีสองปีข้างหน้า ปัญหาใหญ่ของ Wi-Fi ก่อน 802. 11ac คือความเร็ว โดยหากนำไปเปรียบกับ Ethernet ที่สามารถรับส่งข้อมูลได้เป็น Gigabit แล้ว Wi-Fi ที่วิ่งอยู่แค่ร้อยต้นๆนี่เรียกว่าช้า ดังนั้น วัตถุประสงค์หลักของมาตรฐาน 802. 11ac คือเพิ่มความเร็วให้ทะลุ 1Gbps ผลที่ได้ 802. 11ac ในทางทฤษฎีสามารถเชื่อมต่อที่ความเร็วสูงสุดถึง 6. 933Gbps ตี 802. 11n ที่ 600Mbps กระจุยกระจาย แต่ช่วงแรกๆที่ IEEE รับรองมาตรฐาน 802. 11ac มีฟีเจอร์หลายตัวยังพัฒนาได้ไม่สมบูรณ์ แต่ก็ดีพอที่จะเริ่มขายในตลาด แทนที่ต้องเสียเวลารออีกหลายปีจนกว่าเทคโนโลยีจะสมบูรณ์ ทาง Wi-Fi Alliance จึงแบ่ง ac เป็นสองกลุ่ม และทำการ Certify อุปกรณ์ตามมาตรฐานใหม่ที่ตัวเองกำหนดขึ้น จึงเป็นที่มาของ ac Wave 1 และ ac Wave 2 ac Wave 1 vs ac Wave 2 เนื่องจาก 802.

802.11 ax คือ pro

มาตรฐาน IEEE 802.11

11 มาตรฐานเกี่ยวกับเครือข่ายไร้สายแรกที่ได้มีการจัดทำออกมา อันสืบเนื่องมาจากความต้องการใช้งานระบบแลนไร้สาย (Wireless LAN) ที่มีเซลล์ขนาดเล็กและมีความเฉพาะกิจมากขึ้น สอดคล้องกับความต้องการของร้านค้าปลีก คลังเก็บสินค้า โรงพยาบาล สถานศึกษา และภาคธุรกิจและการบริการต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น จึงนำไปสู่การพัฒนามาตรฐานแลนไร้สายลักษณะเดียวกันกับ Ethernet ชื่อว่า IEEE 802. 1. 1 ซึ่งมาตรฐานหลักดังกล่าวได้นำมาซึ่งมาตรฐานย่อยต่าง ๆ ตามมาอีกมากมาย โดยเรียงลำดับตั้งแต่ a, b, c ไปจนถึง n ซึ่งแต่ละมาตรฐานจะมีความเร็วและคลื่นความถี่สัญญาณแตกต่างกันไปในแต่ละประเภท มาตรฐาน IEEE 802. 11a มาตรฐานดังกล่าวจะใช้สำหรับ Wireless Lan ที่มีความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูลประมาณ 54 Mbps ทำงานในย่านความถี่ 5 GHz สามารถปรับอัตราความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูลได้ตามแต่ที่ต้องการ ที่สำคัญสามารถใช้ในการรับ-ส่งรูปภาพ วิดีโอ และข้อมูลที่มีความคมชัดสูงได้ นอกจากนั้น คลื่นความถี่ชนิดนี้ยังมักจะสามารถทำงานได้โดยไม่มีคลื่นความถี่อื่นรบกวนมากนัก ทำให้สามารถรับ-ส่งข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากในหลายประเทศ คลื่นความถี่ 5 GHz ยังไม่ได้ถูกเปิดให้ใช้ทั่วไปในสาธารณชน จึงไม่มีปัญหารบกวนคลื่นความถี่มากเท่าใดนัก มาตรฐาน IEEE 802.

มาตรฐาน IEEE 802. 11 Institute of Electrical and Electronics Engineers (IEEE) เป็นองค์กรกำนหดมาตรฐานการสื่อสารข้อมูลบนระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งได้กำหนดมาตรฐานสำหรับเครือข่ายไวเลสแลนขึ้น คือมาตรฐาน IEEE802. 11 และกำหนดมาตรฐานย่อยขึ้น คือ a, b, g และ n ตามลำดับ โดยแต่ละมาตรฐานมีความเร็วและคลื่นความถี่สัญญาณที่แตกต่างกัน มีรายละเอียดดังนี้ มาตรฐาน IEEE 802. 11a เครือข่ายไวเลสแลนที่ทำงานย่านความถี่ 5 GHz มีความเร็วในการรับส่งข้อมูล 54 Mbps สามารถทำการแพร่ภาพวิดีโอและข้อมูลที่ต้องการความละเอียดสูงได้ โดยอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลสามารถปรับระดับให้ช้าลงได้ เพื่อเพิ่มระยะทางการเชื่อมต่อให้มากขึ้น เช่น 54, 48, 36, 24 และ 11 Mbps เป็นต้น ขณะที่คลื่นความถี่ 5 GHz ไม่ได้ใช้งานอย่างแพร่หลาย เพราะบางประเทศไม่อนุญาติให้ใช้คลื่นความถี่นี้ ดังนั้นปัญหาการรบกวนคลื่นความถี่จึงมีน้อย ต่างจากคลื่นความถี่ 2. 4 GHz ที่มีการใช้งานอย่างแพร่หลายทำให้สัญญาณของคลื่นความถี่ 2. 4 GHz ถูกรบกวนจากอุปกรณ์ประเภทอื่นที่ใช้คลื่นความถี่เดียวกันได้ ระยะทางการเชื่อมต่อประมาณ 300 ฟิตจากจุดกระจายสัญญาณ Access Point หากเทียบกับมาตรฐาน 802.

Access Point WiFi 6 (802.11AX) มาตรฐานใหม่แห่งการเชื่อมต่อไร้สาย

11b โดยมาตรฐาน 802. 11g สามารถปรับระดับความเร็วในการสื่อสารลงเหลือ 2 Mbps ได้ (ตามสภาพแวดล้อมของเครือข่ายที่ใช้งาน) มาตรฐานนี้เป็นที่นิยมของผู้ใช้เป็นจำนวนมากและเข้ามาแทนที่ 802. 11b ที่ความเร็วต่ำกว่า มาตรฐาน IEEE 802. 11n เป็นมาตรฐานที่สามารถทำงานบนคลื่นความถี่ 2. 4 และ 5 GHz ได้ รองรับความเร็วตั้งแต่ 300-450 Mbps โดยมีเสาสัญญาณตั้งแต่ 2 - 4 เสา บนตัวอุปกรณ์กระจายสัญญาณไวเลสแลน และหากผู้ใช้ต้องการใช้งานที่ความเร็วสูงสุด เครื่องคอมพิวเตอร์พกพาหรืออุปกรณ์เคลื่อนที่ต้องรองรับมาตรฐาน 802. 11n ด้วยเช่นกัน มาตรฐาน 802. 11n สามารถทำงานร่วมกับ 802. 11b, g ได้ โดยไม่ทำให้ประสิทธิภาพทั้งระบบลดลงเหมือนมาตรฐาน 802. 11g เมื่อมีอุปกรณ์ 802. 11b เข้ามาใช้งานร่วมกัน สุดท้าย ตารางด้านล่างเป็นตารางมาตรฐาน IEEE802. 11 ของเครือข่ายไร้สาย นอกจากที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังมีบางผลิตภัณฑ์ใช้เทคโนโลยีเฉพาะตัวเข้ามาเสริมช่วยทำให้ความเร็วเพิ่มขึ้นจาก 54 Mbps เป็น 108 Mbps แต่ต้องเป็นอุปกรณ์ที่ผลิตจากบริษัทเดียวกันเท่านั้น ซึ่งความสามารถนี้เกิดจากชิพ (Chip) กระจายสัญญาณไวเลสของตัวอุปกรณ์เพิ่มประสิทธิภาพการรับส่งสัญญาณเป็น 2 เท่าได้ แต่ปัญหาของการกระจายสัญญาณนี้จะมีผลทำให้อุปกรณ์ไร้สายในมาตรฐาน 802.

11ac Wave 1 ล้าสมัยหรือยัง ในปี 2564 ผมเชื่อว่ายังมีหลายบ้าน หลายองค์กรที่ยังใช้ ac รุ่นแรกกันอยู่ ถ้าดูตามอายุอุปกรณ์ก็น่าจะ 7-8 ปีได้ ส่วนเทคโนโลยีทดแทนก็มี ac Wave 2 กับ 802. 11ax คำถามที่ผมถูกถามบ่อย คือเราควรอัพเกรด AP หรือยัง ถ้าจะอัพควรอัพเป็นตัวไหน จริงๆแล้วคำตอบขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่นถ้าเป็น Wi-Fi บ้านทั่วไป ใช้เน็ต ADSL 100Mbps มีอุปกรณ์เกาะอยู่ไม่เกิน 10 เครื่อง ในเคสนี้ถึงจะอัพเป็น ax ก็ไม่เห็นความแตกต่าง เพราะ ac Wave 1 สามารถรองรับความเร็วสูงสุดที่ 866. 7Mbps ซึ่งเหลือเฟือสำหรับเน็ตบ้าน 100Mbps ส่วนตัวผมจะรอให้มันพัง หรือใกล้พังก่อนค่อยเปลี่ยน ถึงวันนั้นก็เปลี่ยนไปใช้ ax เลยเพราะราคาก็ไม่ต่างกับ ac Wave 2 เท่าไหร่แล้วแถมได้เทคโนโลยีที่ใหม่กว่าสดกว่า ถ้าเป็น Wi-Fi องค์กรที่เปิดใช้งาน 24x7x365 หรือใช้ในพื้นที่ที่มีผู้ใช้งานเยอะ เช่นหอประชุม เคสนี้ควรพิจารณาเปลี่ยน และผมแนะนำให้ข้าม ac Wave 2 ไป 802. 11ax เลยเพราะ ax จะโดดเด่นในเรื่องการรองรับจำนวนผู้ใช้จำนวนมาก ถ้า ac เก่งเรื่อง speed ax เก่ง high-density บทความแนะนำ What is Wi-Fi 6 and Does your Organization Need It?

Controller

11b โดยเฉพาะการเพิ่มความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูลไปยังระดับ 54 Mbps เทียบเท่ากับกับ มาตรฐาน 802. 11a อย่างไรก็ตาม มาตรฐานนี้ยังคงคลื่นความถี่อยู่ที่ 2. 4 GHz เช่นเดิม รวมทั้งยังเป็นคลื่นความถี่สาธารณะที่ใคร ๆ ก็สามารถใช้ได้โดยไม่จำเป็นต้องขออนุญาต ซึ่งจุดเด่นดังกล่าวก็ทำให้เกิดปัญหาได้เช่นกัน โดยเฉพาะการได้รับสัญญาณรบกวนจากอุปกรณ์ที่ใช้คลื่นความถี่เดียวกัน ส่งผลต่อความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูล แตกต่างจาก 5 GHz ที่ไม่ค่อยมีคนแย่งสัญญาณจึงทำให้สามารถรับ-ส่งข้อมูลได้อย่างสะดวกรวดเร็วมากยิ่งกว่า มาตรฐาน IEEE 802. 11h มาตรฐานชนิดนี้ถูกออกแบบมาใช้สำหรับอุปกรณ์เครือข่ายไร้สายที่ใช้งานย่านความถี่ 5 GHz เพื่อให้มีความสอดคล้องกับข้อกำหนดการใช้ความถี่ของกลุ่มประเทศในสหภาพยุโรปเป็นหลัก ดังนั้น จึงไม่ค่อยมีความเกี่ยวข้องกับการผู้ใช้งานคลื่นความถี่ภายในประเทศไทยเท่าใดนัก มาตรฐาน IEEE 802. 11n สำหรับมาตรฐาน IEEE 802. 11m นั้น อาจกล่าวได้ไม่เต็มปากว่าเป็นมาตรฐานที่สามารถใช้งานได้จริง เนื่องจากปัจจุบัน IEEE ยังไม่ได้ประกาศใช้งานออกมาอย่างเป็นทางการ โดยมาตรฐานชนิดนี้นั้นเป็นการใช้นวัตกรรมจำนวนมากเข้ามาเพิ่มความรวดเร็วในการรับ-ส่งข้อมูล นับว่าเป็นคลื่นความถี่ที่มีความทันสมัย สามารถส่งสัญญาณได้ในระยะทางที่ไกลมากยิ่งขึ้น ในความเร็วประมาณ 300 Mbps ผ่านเทคโนโลยี MIMO ซึ่งใช้ประโยชน์จากเสาสัญญาณจำนวนมากในการรับ-ส่งสัญญาณส่งผลให้สามารถรับ-ส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูง นอกจากนั้น คลื่นความถี่ตามมาตรฐานนี้ยังเป็น Dual Band ที่สามารถใช้ทั้งความถี่แบบ 2.

  • รายละเอียดข้อมูลยา
  • เตรียมใช้ WiFi 6 (802.11 ax) กันได้ผ่าน AIS Super WiFi+ | DroidSans
  • หางาน อ.เมือง จ.ลำพูน | ข่าวสารล่าสุดเกี่ยวกับ จัดหา งาน ลํา พูน ล่าสุด - Thailand Knowledge
  • ประกาศ ธ ป ท it outsourcing
  • 802.11 ax คือ controller
  • เอกสารวิชาการ “กล้วยไม้หางช้าง” – สถาบันวิจัยพืชสวน
  • 802.11 ax คือ software
  • 802.11ax และ 802.11ad มาตรฐาน Wifi ใหม่ มาพร้อมความเร็วระดับ Gigabits - NuaNia
  • Caligula ตอนที่ 1-12 ซับไทย (จบแล้ว) Neko-Miku
  • สถิติหวยวันที่ 16 เมษายน
  • ม็อบ 21 สิงหาคม 2564
  • 802.11 ax คือ driver

11ax นั้นจะเป็นมาตรฐานที่มาแทนที่ 802. 11ac โดยตรง ซึ่งจะใช้คลื่น 2. 4 และ 5 GHz เหมือนเดิม ต่างกันที่ความสามารถในการทำงานบนพื้นที่ที่มีความหนาแน่นของสัญญาณสูง และยังออกแบบมาเพื่อการใช้งานพร้อมกันหลายๆ อุปกรณ์โดยไม่ทำให้สูญเสียประสิทธิภาพ